คุณแม่ที่ควรรับการตรวจคัดกรองนิฟตี้
คุณแม่ที่ควรรับการตรวจคัดกรองนิฟตี้

3M+
จำนวนการส่งตรวจจากทั่วโลก
กว่า 3 ล้าน ตัวอย่าง

10
เหมาะกับอายุครรภ์ตั้งแต่ 10 สัปดาห์
และเจาะเลือดแม่เพียง 10 ml เท่านั้น

>99%
ประสิทธิภาพในการตรวจ
มากกว่า 99%

10
รายงานผลภายใน
10 วันทำการ

0%
ไม่มีความเสี่ยง
ต่อการแท้งของลูกน้อย

147,000
มีการทดสอบ และได้รับการยอมรับ
จากหญิงตั้งครรภ์มาแล้วกว่า 147,000 ราย
แพ็คเกจนิฟตี้

Trisomies |
---|
![]() |
![]() |
![]() |
ระบุอัตลักษณ์เพศ |
---|
![]() |
Trisomies |
---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
ความผิดปกติที่เกิดจากโครโมโซมเพศ |
---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
Microdeletion / Duplication |
---|
![]() |

Trisomies |
---|
![]() |
![]() |
![]() |
ระบุอัตลักษณ์เพศ |
---|
![]() |
ความผิดปกติที่เกิดจากโครโมโซมเพศ |
---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |

Trisomies |
---|
![]() |
![]() |
![]() |
การตรวจหาโครโมโซม Y |
---|
Package Test Options


เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการตรวจความผิดปกติของโครโมโซม
ขั้นตอนการดำเนินงาน

ขั้นตอน 1
แพทย์สั่งตรวจ

ขั้นตอน 2
เก็บตัวอย่างเลือด

ขั้นตอน 3
นำส่งตัวอย่างไปยัง
ห้องปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์

ขั้นตอน 4
รายงานผลกับแพทย์
สาระความรู้

รู้หรือไม่??? คุณแม่ตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 35 ปี ก็มีความเสี่ยงที่จะมีลูกเป็นดาวน์ซินโดรมได้
ในประเทศไทย แต่ละปีมีหญิงตั้งครรภ์ประมาณ 800,000 ราย ในจำนวนนี้ให้กำเนิดทารกที่เป็นดาวน์ซินโดรมประมาณ 800-1,000 ราย
นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ได้แนะนำให้หญิงที่ตั้งครรภ์วัย 35 ปีขึ้นไป เข้ารับการเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซมของทารกในครรภ์ เนื่องจากเป็นกลุ่มมีความเสี่ยงสูงที่ทารกในครรภ์จะมีโครโมโซมผิดปกติ แต่จากการเก็บสถิติของเด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม กลับพบว่าร้อยละ 75-80 เป็นเด็กที่เกิดจากแม่ที่อายุน้อยกว่า 35 ปี

รู้ก่อนจะสายเกินไป โรคที่เกิดจาก Trisomy ไม่มีทางรักษาได้
การเปลี่ยนแปลงของยีนมีความเป็นไปได้ที่จะได้รับการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูก ซึ่งทำให้เกิดโรคทางพันธุกรรมในเด็กได้ ปัจจุบันนี้โรคทางพันธุกรรมเหล่านี้ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นการรักษาจึงได้รับการออกแบบมาเพื่อพัฒนาการตรวจอาการ และโรคที่เกี่ยวข้องกับโรคดาวน์ซินโดรมซึ่งเป็นหนึ่งในโรคทางพันธุกรรม โดยสาเหตุหลักอาจไม่ได้เกิดจากการถ่ายทอดของยีน แต่เป็นสาเหตุจากปัจจัยอื่น ๆ เช่น อายุของแม่ ความผิดปกติของไข่ ฯลฯ ซึ่งดาวน์ซินโดรมเป็นโรคที่รู้จักกันในชื่อTrisomy 21 เนื่องจากจำนวนของโครโมโซมคู่ที่ 21 มีการเพิ่มขึ้น โดยอัตราการเกิด Trisomy 21 กับเด็กในครรภ์ อยู่ที่ 1 รายต่อ 800 ราย
วารสารวิชาการ |
---|
Zhang, H., et al. (2015). Non-invasive prenatal testing for trisomies 21, 18 and 13: clinical experience from 146,958 pregnancies. Ultrasound Obstet Gynecol, 45(5), 530-538. doi: 10.1002/uog.14792 |
Lau, T. K., el at. (2013). Non-invasive prenatal screening of fetal Down syndrome by maternal plasma DNA sequencing in twin pregnancies. The Journal of Maternal-Fetal and Neonatal Medicine 2013 Mar;26(4): 434-7 |