รู้หรือไม่??? คุณแม่ตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 35 ปี ก็มีความเสี่ยงที่จะมีลูกเป็นดาวน์ซินโดรมได้
401 ผู้เข้าชม
ในประเทศไทย แต่ละปีมีหญิงตั้งครรภ์ประมาณ 800,000 ราย ในจำนวนนี้ให้กำเนิดทารกที่เป็นดาวน์ซินโดรมประมาณ 800-1,000 ราย
นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ได้แนะนำให้หญิงที่ตั้งครรภ์วัย 35 ปีขึ้นไป เข้ารับการเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซมของทารกในครรภ์ เนื่องจากเป็นกลุ่มมีความเสี่ยงสูงที่ทารกในครรภ์จะมีโครโมโซมผิดปกติ แต่จากการเก็บสถิติของเด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม กลับพบว่าร้อยละ 75-80 เป็นเด็กที่เกิดจากแม่ที่อายุน้อยกว่า 35 ปี
บทความที่เกี่ยวข้อง
ตอบครบทุกคำถามการ ตรวจ NIPT คืออะไร? ตรวจ NIPT อายุครรภ์กี่สัปดาห์? บอกอะไรได้บ้าง? ราคาเท่าไหร่? กี่วันรู้ผล? เบิกประกันได้ไหม? ยี่ห้อไหนดี? อ่านได้ที่นี่เลย
การตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมด้วยวิธี Quadruple Test (QT) คืออะไร? ตรวจได้ตอนกี่สัปดาห์? มีความแม่นยำเท่าไหร่? ผลเสี่ยงสูงต้องทำยังไงต่อ? หาคำตอบได้ที่นี่เลย
ดาวน์ซินโดรม (Down Syndrome) คืออะไร? ตรวจดาวน์ซินโดรมมีแบบไหนบ้าง? จำเป็นไหม? ตรวจดาวน์ซินโดรม อายุครรภ์กี่สัปดาห์? วิธีไหนเร็วที่สุด? อ่านได้ที่นี่เลย